Skip links
View
Drag

About Us

ประวัติและความเป็นมาของ MFEC Public Company Limited

Always Exceed Expectations

วิสัยทัศน์
เราจะเป็นบริษัทไอทีที่คนอยากทำงานด้วยมากที่สุด
ผ่านการ ผลักดันศักยภาพอย่างไร้ขีดจำกัดของพนักงาน
เพื่อสร้างสรรค์เทคโนโลยีและ ยกระดับคุณภาพชีวิตของทุกคน
พันธกิจ
เป็นพลังขับเคลื่อนในการทำให้ ชีวิตดิจิทัลของคุณดีขึ้น
วิสัยทัศน์
เราจะเป็นบริษัทไอทีที่คนอยากทำงานด้วยมากที่สุด
ผ่านการ ผลักดันศักยภาพอย่างไร้ขีดจำกัดของพนักงาน เพื่อสร้างสรรค์เทคโนโลยี
และ ยกระดับคุณภาพชีวิตของทุกคน
พันธกิจ
เป็นพลังขับเคลื่อนในการทำให้ ชีวิตดิจิทัลของคุณดีขึ้น

ประวัติ

ในปีแรกของการดำเนินธุรกิจ บริษัทต้องเผชิญกับวิกฤตการณ์ครั้งสำคัญทางการเงินในเอเชีย หรือเรียกทั่วไปในประเทศไทยว่า “วิกฤตต้มยำกุ้ง” ส่งผลกระทบโดยตรงต่อความสามารถ ในการทำกำไรและการดำเนินธุรกิจขององค์กร

แต่ทว่าเพียง 6 ปีหลังจากก่อตั้ง คุณศิริวัฒน์ วงศ์จารุกร ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการ ผู้จัดการใหญ่ได้นำบริษัท เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ และถูกจัดเป็นหุ้นเด่นจ่ายเงินปันผลตลอด 10 ปี เฉลี่ย 7.81 % สูงสุดในหุ้นหมวดสื่อสารฯ โดยการดำเนินงานของบริษัท ได้วางนโยบายเติบโตไปพร้อมกับลูกค้า มุ่งเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่องค์กรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

Timeline

บริษัท เอ็ม เอฟ อี ซี จำกัด จดทะเบียนและก่อตั้งบริษัท เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2540 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มต้น 10 ล้านบาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญจำนวน 1 ล้านหุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยบริษัทดำเนินการพัฒนาและวางระบบการเชื่อมต่อเครือข่ายภายในองค์กร (Intranet) ทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ซึ่งเป็นการพัฒนาและนำระบบ Intranet มาใช้ภายในองค์กรขนาดใหญ่เป็นครั้งแรกของประเทศไทย ด้วยวิสัยทัศน์ของผู้บริหารในการดำเนินธุรกิจ ทำให้บริษัทได้รับการแต่งตั้งเป็นตัวแทนจำหน่ายผลิตภัณฑ์อย่างเป็นทางการจากบริษัทชั้นนำระดับโลก ได้แก่

- Sun Microsystems ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นผู้นำด้านเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายสำหรับระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อใช้ในองค์กรขนาดใหญ่

- Netscape Communication ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นผู้ริเริ่มคิดค้นพัฒนาทางด้านโปรแกรมสำหรับระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายของระบบอินเทอร์เน็ตและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Internet & E-commerce Software Server) ในปัจจุบันรู้จักกันในนามของ SUN ONE

1997-2000

Since

บริษัท เอ็ม เอฟ อี ซี จำกัด จดทะเบียนและก่อตั้งบริษัท เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2540 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มต้น 10 ล้านบาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญจำนวน 1 ล้านหุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยบริษัทดำเนินการพัฒนาและวางระบบการเชื่อมต่อเครือข่ายภายในองค์กร (Intranet) ทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ซึ่งเป็นการพัฒนาและนำระบบ Intranet มาใช้ภายในองค์กรขนาดใหญ่เป็นครั้งแรกของประเทศไทย ด้วยวิสัยทัศน์ของผู้บริหารในการดำเนินธุรกิจ ทำให้บริษัทได้รับการแต่งตั้งเป็นตัวแทนจำหน่ายผลิตภัณฑ์อย่างเป็นทางการจากบริษัทชั้นนำระดับโลก ได้แก่

- Sun Microsystems ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นผู้นำด้านเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายสำหรับระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อใช้ในองค์กรขนาดใหญ่

- Netscape Communication ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นผู้ริเริ่มคิดค้นพัฒนาทางด้านโปรแกรมสำหรับระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายของระบบอินเทอร์เน็ตและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Internet & E-commerce Software Server) ในปัจจุบันรู้จักกันในนามของ SUN ONE

2001-2002

Since

เพื่อเพิ่มโอกาสการขยายธุรกิจ บริษัทจึงเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 10 ล้านบาท โดยแบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำนวน 2 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท

บริษัทได้จัดตั้งหน่วยงานบริการให้คำปรึกษาและพัฒนางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเป็นทางการ เพื่อขยายธุรกิจการบริการให้คำปรึกษาและพัฒนางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Professional Services) และได้เริ่มให้บริการธุรกิจ ดังนี้

– เริ่มให้บริการพัฒนาระบบสื่อสารทางเสียงผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Voice Over Internet Protocol, VOIP) ซึ่งจะช่วยลูกค้าลดภาระต้นทุนค่าโทรศัพท์ทางไกลเป็นแห่งแรกของประเทศไทย

– ให้บริการพัฒนาระบบคลังข้อมูล (Data Warehouse) โดยได้รับความร่วมมือจากบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ คือ Ascential (ซึ่งปัจจุบันได้ควบรวมกิจการโดย IBM) ประเทศสหรัฐอเมริกา และได้รับการแต่งตั้งเป็นตัวแทนจำหน่ายในประเทศไทย

– เริ่มศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) เพื่อเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญในอนาคต

เพื่อเพิ่มโอกาสการขยายธุรกิจ บริษัทจึงเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 10 ล้านบาท โดยแบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำนวน 2 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท

บริษัทได้จัดตั้งหน่วยงานบริการให้คำปรึกษาและพัฒนางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเป็นทางการ เพื่อขยายธุรกิจการบริการให้คำปรึกษาและพัฒนางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Professional Services) และได้เริ่มให้บริการธุรกิจ ดังนี้

– เริ่มให้บริการพัฒนาระบบสื่อสารทางเสียงผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Voice Over Internet Protocol, VOIP) ซึ่งจะช่วยลูกค้าลดภาระต้นทุนค่าโทรศัพท์ทางไกลเป็นแห่งแรกของประเทศไทย

– ให้บริการพัฒนาระบบคลังข้อมูล (Data Warehouse) โดยได้รับความร่วมมือจากบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ คือ Ascential (ซึ่งปัจจุบันได้ควบรวมกิจการโดย IBM) ประเทศสหรัฐอเมริกา และได้รับการแต่งตั้งเป็นตัวแทนจำหน่ายในประเทศไทย

– เริ่มศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) เพื่อเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญในอนาคต

จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2546 และเปิดซื้อขายหลักทรัพย์ให้แก่ประชาชนทั่วไปในตลาดหลักทรัพย์วันแรก เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2546

ในเดือนพฤษภาคม บริษัทได้ดำเนินการเพิ่มทุนจากเดิม 20 ล้านบาทเป็น 160 ล้านบาท และเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแก่ผู้ถือหุ้นเดิมจำนวน 14 ล้านหุ้น ที่มูลค่าตราไว้หุ้นละ 10 บาท เนื่องจากผู้บริหารเล็งเห็นถึงอัตราการเติบโตของบริษัท และเพื่อเพิ่มความสามารถและศักยภาพในการดำเนินธุรกิจต่อไป

ในเดือนมิถุนายน เพื่อเป็นการปรับโครงสร้างผู้ถือหุ้นของบริษัท บริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด ได้ดำเนินการขายหุ้นทั้งหมดที่ถือในบริษัท คิดเป็นร้อยละ 68 ของหุ้นที่ออกและเรียกชำระแล้ว ให้กับบริษัท โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) และผู้ถือหุ้นรายบุคคลอื่น ๆ ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด ทำให้บริษัท โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทฯ ณ ขณะนั้น โดยถือหุ้นร้อยละ 31.6 ของหุ้นที่ออกและเรียกชำระแล้ว และบริษัทได้จำหน่ายเงินลงทุนทั้งหมดในบริษัท ไทยแทพไกด์ จำกัด ให้แก่บริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด

2003

Since
เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2546 บริษัทได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด และเปิดซื้อขายหลักทรัพย์ให้แก่ประชาชนทั่วไปในตลาดหลักทรัพย์วันแรก เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2546 อีกทั้ง เพื่อรองรับการขยายงาน และจำนวนพนักงานที่เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้สามารถบริการลูกค้าได้อย่างใกล้ชิดและรวดเร็วขึ้น บริษัทได้เปิดศูนย์วิจัยและพัฒนา (Development Center) ที่อาคารเล้าเป้งง้วนทาวเวอร์ 1 ถนนวิภาวดี-รังสิต เพื่อเปิดศูนย์การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ใหม่ของบริษัท

จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2546 และเปิดซื้อขายหลักทรัพย์ให้แก่ประชาชนทั่วไปในตลาดหลักทรัพย์วันแรก เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2546

ในเดือนพฤษภาคม บริษัทได้ดำเนินการเพิ่มทุนจากเดิม 20 ล้านบาทเป็น 160 ล้านบาท และเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแก่ผู้ถือหุ้นเดิมจำนวน 14 ล้านหุ้น ที่มูลค่าตราไว้หุ้นละ 10 บาท เนื่องจากผู้บริหารเล็งเห็นถึงอัตราการเติบโตของบริษัท และเพื่อเพิ่มความสามารถและศักยภาพในการดำเนินธุรกิจต่อไป

ในเดือนมิถุนายน เพื่อเป็นการปรับโครงสร้างผู้ถือหุ้นของบริษัท บริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด ได้ดำเนินการขายหุ้นทั้งหมดที่ถือในบริษัท คิดเป็นร้อยละ 68 ของหุ้นที่ออกและเรียกชำระแล้ว ให้กับบริษัท โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) และผู้ถือหุ้นรายบุคคลอื่น ๆ ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด ทำให้บริษัท โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทฯ ณ ขณะนั้น โดยถือหุ้นร้อยละ 31.6 ของหุ้นที่ออกและเรียกชำระแล้ว และบริษัทได้จำหน่ายเงินลงทุนทั้งหมดในบริษัท ไทยแทพไกด์ จำกัด ให้แก่บริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด

เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2546 บริษัทได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด และเปิดซื้อขายหลักทรัพย์ให้แก่ประชาชนทั่วไปในตลาดหลักทรัพย์วันแรก เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2546 อีกทั้ง เพื่อรองรับการขยายงาน และจำนวนพนักงานที่เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้สามารถบริการลูกค้าได้อย่างใกล้ชิดและรวดเร็วขึ้น บริษัทได้เปิดศูนย์วิจัยและพัฒนา (Development Center) ที่อาคารเล้าเป้งง้วนทาวเวอร์ 1 ถนนวิภาวดี-รังสิต เพื่อเปิดศูนย์การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ใหม่ของบริษัท

เข้าลงทุนในบริษัท พรอมท์นาว จำกัด, บริษัท แอดวานซ์ อินเทลลิเจนซ์ โมเดิร์นนิตี้ จำกัด และบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด (ปัจจุบันคือบริษัท พระอินทร์ ฟินเทค จำกัด)

เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2547

– เข้าลงทุนในบริษัท พรอมท์นาว จำกัด ซึ่งดำเนินธุรกิจให้คำปรึกษา แนะนำอบรมเกี่ยวกับซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ สำหรับควบคุมหรือใช้งานร่วมกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และสร้างสรรค์สื่อความบันเทิงบนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2547

– เข้าลงทุนในบริษัท แอดวานซ์ อินเทลลิเจนซ์ โมเดิร์นนิตี้ จำกัด ซึ่งดำเนินธุรกิจพัฒนา ผลิต และจำหน่ายซอฟต์แวร์ด้านสื่อบันเทิงบนอุปกรณ์มือถือ

เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2548

– เข้าลงทุนในบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด (ปัจจุบันคือบริษัท พระอินทร์ ฟินเทค จำกัด) ซึ่งประกอบธุรกิจในด้าน Modern Pay (Mobile Payment Gateway) และบริหารจัดการงานบริการ (Managed services / Project based (PC/NB/PRN)

2004-2010

Since

เข้าลงทุนในบริษัท พรอมท์นาว จำกัด, บริษัท แอดวานซ์ อินเทลลิเจนซ์ โมเดิร์นนิตี้ จำกัด และบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด (ปัจจุบันคือบริษัท พระอินทร์ ฟินเทค จำกัด)

เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2547

– เข้าลงทุนในบริษัท พรอมท์นาว จำกัด ซึ่งดำเนินธุรกิจให้คำปรึกษา แนะนำอบรมเกี่ยวกับซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ สำหรับควบคุมหรือใช้งานร่วมกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และสร้างสรรค์สื่อความบันเทิงบนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2547

– เข้าลงทุนในบริษัท แอดวานซ์ อินเทลลิเจนซ์ โมเดิร์นนิตี้ จำกัด ซึ่งดำเนินธุรกิจพัฒนา ผลิต และจำหน่ายซอฟต์แวร์ด้านสื่อบันเทิงบนอุปกรณ์มือถือ

เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2548

– เข้าลงทุนในบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด (ปัจจุบันคือบริษัท พระอินทร์ ฟินเทค จำกัด) ซึ่งประกอบธุรกิจในด้าน Modern Pay (Mobile Payment Gateway) และบริหารจัดการงานบริการ (Managed services / Project based (PC/NB/PRN)

กลุ่มผู้บริหารตัดสินใจเข้าลงทุนรับซื้อ และรับโอนกิจการ NTS โดยถือหุ้นลงทุนสัดส่วน 100% (ซึ่ง มีผลทำให้กลุ่มบริษัท ซอฟต์สแควร์ จำนวน 7 บริษัท เป็น บริษัทย่อย ประกอบด้วย
- บริษัท ฮ่องสอน ซอฟต์แวร์ จำกัด
- บริษัท ซอฟต์โปรเฟสชั่นแนล จำกัด
- บริษัท ซอฟต์พลัส เทคโนโลยี จำกัด
- บริษัท เคซอฟต์ คอนซัลติ้ง จำกัด
- บริษัท สามหมอก ซอฟต์แวร์ จำกัด
- บริษัท ซอฟต์สแควร์ (1999) จำกัด
- บริษัท ขอนแก่น ซอฟต์เทค จำกัด
ผ่านการถือลงทุนของบริษัท ซอฟต์สแควร์ 1999 จำกัด พร้อมตัดสินใจเข้าลงทุนซื้อ และรับโอนกิจการในกลุ่มบริษัท เมกัส โดยถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 100% ซึ่งมีผลทำให้บริษัท โมทีฟเทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) และบริษัท บิสซิเนส แอพพลิเคชั่น จำกัด เป็นบริษัทย่อยในกลุ่ม MFEC Group และร่วมลงทุนในบริษัท อังสตรอม โซลูชั่น จำกัด โดยถือหุ้น ลงทุนในสัดส่วน 40% ของทุนจดทะเบียน เพื่อเสริมสร้าง ความเป็นผู้นำในธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศให้แข็งแกร่ง ยิ่งขึ้น และเป็นการขยายการลงทุนในการพัฒนาสินทรัพย์ทาง ปัญญาของบริษัทอย่างต่อเนื่อง ทำให้ในกลุ่ม MFEC Group โดยรวมประกอบด้วยบริษัทร่วมจำนวน 1 บริษัท และบริษัท ย่อยจํานวน 13 บริษัท

2011-2012

Since

กลุ่มผู้บริหารตัดสินใจเข้าลงทุนรับซื้อ และรับโอนกิจการ NTS โดยถือหุ้นลงทุนสัดส่วน 100% (ซึ่ง มีผลทำให้กลุ่มบริษัท ซอฟต์สแควร์ จำนวน 7 บริษัท เป็น บริษัทย่อย ประกอบด้วย
- บริษัท ฮ่องสอน ซอฟต์แวร์ จำกัด
- บริษัท ซอฟต์โปรเฟสชั่นแนล จำกัด
- บริษัท ซอฟต์พลัส เทคโนโลยี จำกัด
- บริษัท เคซอฟต์ คอนซัลติ้ง จำกัด
- บริษัท สามหมอก ซอฟต์แวร์ จำกัด
- บริษัท ซอฟต์สแควร์ (1999) จำกัด
- บริษัท ขอนแก่น ซอฟต์เทค จำกัด
ผ่านการถือลงทุนของบริษัท ซอฟต์สแควร์ 1999 จำกัด พร้อมตัดสินใจเข้าลงทุนซื้อ และรับโอนกิจการในกลุ่มบริษัท เมกัส โดยถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 100% ซึ่งมีผลทำให้บริษัท โมทีฟเทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) และบริษัท บิสซิเนส แอพพลิเคชั่น จำกัด เป็นบริษัทย่อยในกลุ่ม MFEC Group และร่วมลงทุนในบริษัท อังสตรอม โซลูชั่น จำกัด โดยถือหุ้น ลงทุนในสัดส่วน 40% ของทุนจดทะเบียน เพื่อเสริมสร้าง ความเป็นผู้นำในธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศให้แข็งแกร่ง ยิ่งขึ้น และเป็นการขยายการลงทุนในการพัฒนาสินทรัพย์ทาง ปัญญาของบริษัทอย่างต่อเนื่อง ทำให้ในกลุ่ม MFEC Group โดยรวมประกอบด้วยบริษัทร่วมจำนวน 1 บริษัท และบริษัท ย่อยจํานวน 13 บริษัท

2013-2014

Since
2556-2557-1000x1000-1

บริษัท TIS INC. ประเทศญี่ปุ่น เข้าซื้อหุ้นจาก Modernform Group ถือลงทุนในสัดส่วน 18% ของทุนจดทะเบียนชำระแล้ว มีสถานะเป็น “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่” แทนบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) บริษัท โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) “MODERN” ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ มีมติอนุมัติรายการจำหน่ายหุ้น บริษัท เอ็ม เอฟ อี ซี จำกัด (มหาชน) “MFEC” จำนวน 61,983,675 หุ้น คิดเป็น 14.07% ของทุนชำระแล้ว ให้กับบริษัท TIS INC. ประเทศญี่ปุ่น ในราคาหุ้นละ 10.70 บาท เป็นเงิน 663,225,322.50 บาท โดยทำการจำหน่ายในวันที่ 14 พฤษภาคม 2557 และภายหลังการจำหน่ายหุ้นดังกล่าวทำให้สัดส่วนการถือหุ้นของ Modernform Group ลดลงคงเหลือ 2.41% และมีผลทำให้ บริษัท TIS Inc. ซึ่งเข้าซื้อหุ้นจาก Modernform Group และถือลงทุนในสัดส่วน 18% ของทุนจดทะเบียนชำระแล้ว มีสถานะเป็น “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่” แทนบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) โดยการทำรายการดังกล่าวของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดี ด้วย TIS Inc. เป็นกลุ่มบริษัทต่างชาติ ซึ่งเป็นผู้นำในธุรกิจด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศญี่ปุ่นอันจะทำให้บริษัทได้รับโอกาสในการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เทียบเท่าบริษัทชั้นนำต่างชาติและเป็นการเพิ่มโอกาสทางการค้าในอนาคต

บริษัท TIS INC. ประเทศญี่ปุ่น เข้าซื้อหุ้นจาก Modernform Group ถือลงทุนในสัดส่วน 18% ของทุนจดทะเบียนชำระแล้ว มีสถานะเป็น “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่” แทนบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) บริษัท โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) “MODERN” ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ มีมติอนุมัติรายการจำหน่ายหุ้น บริษัท เอ็ม เอฟ อี ซี จำกัด (มหาชน) “MFEC” จำนวน 61,983,675 หุ้น คิดเป็น 14.07% ของทุนชำระแล้ว ให้กับบริษัท TIS INC. ประเทศญี่ปุ่น ในราคาหุ้นละ 10.70 บาท เป็นเงิน 663,225,322.50 บาท โดยทำการจำหน่ายในวันที่ 14 พฤษภาคม 2557 และภายหลังการจำหน่ายหุ้นดังกล่าวทำให้สัดส่วนการถือหุ้นของ Modernform Group ลดลงคงเหลือ 2.41% และมีผลทำให้ บริษัท TIS Inc. ซึ่งเข้าซื้อหุ้นจาก Modernform Group และถือลงทุนในสัดส่วน 18% ของทุนจดทะเบียนชำระแล้ว มีสถานะเป็น “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่” แทนบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) โดยการทำรายการดังกล่าวของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดี ด้วย TIS Inc. เป็นกลุ่มบริษัทต่างชาติ ซึ่งเป็นผู้นำในธุรกิจด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศญี่ปุ่นอันจะทำให้บริษัทได้รับโอกาสในการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เทียบเท่าบริษัทชั้นนำต่างชาติและเป็นการเพิ่มโอกาสทางการค้าในอนาคต

ตั้งศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์และสำนักงานสาขาที่ 2 แห่งใหม่ของบริษัท
ตั้งอยู่ ณ อาคาร SJ Infinite One ชั้น 11 บริษัทได้มีการพัฒนาและปรับปรุงแนวทางการดำเนินธุรกิจให้สอดคล้องไปกับความต้องการของตลาด เทรนด์เทคโนโลยีฯ ตลอดจนความต้องการของลูกค้า อีกทั้งมีการวางระบบการควบคุมภายในพร้อมการปรับโครงสร้างองค์กรและกลยุทธ์การบริหารธุรกิจใหม่ให้สอดรับกับสภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอยทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นตัวกระตุ้นให้พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว อาทิ กลยุทธ์การปฏิรูปการทำธุรกิจ หรือ Business Transformation มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยียกระดับและพัฒนาธุรกิจที่เปลี่ยนไป นำศักยภาพและความเชี่ยวชาญที่ MFEC มีเข้าช่วยแก้ไขและสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับกลุ่มลูกค้าในอุตสาหกรรมอื่น ๆ ที่กำลังเผชิญกับความท้าทายทางเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ รวมถึงมีการสร้างโมเดลธุรกิจรูปแบบใหม่ในลักษณะการร่วมทุนกับพันธมิตรในกลุ่มอุตสาหกรรมต่าง ๆ อาทิ กลุ่มสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ กลุ่มบันเทิง ฯลฯ

2015 - 2016

Since
นอกจากนี้ยังมีการปฏิรูปภายในองค์กรที่สำคัญคือ การปรับสภาพแวดล้อมสำนักงานใหม่ ซึ่งเป็นศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์และสำนักงานสาขาที่ 2 ของบริษัท บนแนวคิดที่สะท้อนภาพขององค์กรที่เต็มไปด้วยพลังแห่งความคิดสร้างสรรค์ ควบคู่กับการยกระดับ
การทำงานภายใต้แนวคิด “New Office – New Culture” 4 ประการ ประกอบด้วย
1. Collaboration
2. Communication
3. Concentration
4. Chill Out
โดยสำนักงานแห่งใหม่ของ MFEC ตั้งอยู่ ณ อาคาร SJ Infinite One ชั้น 11 และผู้บริหารมีแนวคิดพร้อมนโยบายสนับสนุนพนักงานที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีศักยภาพในการทำงานและบริหารจัดการหน่วยงาน ให้เติบโตพร้อมขยายตัวและ จดทะเบียนเป็นบริษัทย่อยแห่งใหม่ อีกทั้งมีนโยบายขยายการลงทุนเพื่อช่องทางรายได้ใหม่ และเป็นการขยายฐานลูกค้าไปยังกลุ่มอุตสาหกรรมอื่นอันจะเสริมสร้างความเป็นผู้นำในธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้น

ตั้งศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์และสำนักงานสาขาที่ 2 แห่งใหม่ของบริษัท
ตั้งอยู่ ณ อาคาร SJ Infinite One ชั้น 11 บริษัทได้มีการพัฒนาและปรับปรุงแนวทางการดำเนินธุรกิจให้สอดคล้องไปกับความต้องการของตลาด เทรนด์เทคโนโลยีฯ ตลอดจนความต้องการของลูกค้า อีกทั้งมีการวางระบบการควบคุมภายในพร้อมการปรับโครงสร้างองค์กรและกลยุทธ์การบริหารธุรกิจใหม่ให้สอดรับกับสภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอยทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นตัวกระตุ้นให้พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว อาทิ กลยุทธ์การปฏิรูปการทำธุรกิจ หรือ Business Transformation มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยียกระดับและพัฒนาธุรกิจที่เปลี่ยนไป นำศักยภาพและความเชี่ยวชาญที่ MFEC มีเข้าช่วยแก้ไขและสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับกลุ่มลูกค้าในอุตสาหกรรมอื่น ๆ ที่กำลังเผชิญกับความท้าทายทางเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ รวมถึงมีการสร้างโมเดลธุรกิจรูปแบบใหม่ในลักษณะการร่วมทุนกับพันธมิตรในกลุ่มอุตสาหกรรมต่าง ๆ อาทิ กลุ่มสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ กลุ่มบันเทิง ฯลฯ

นอกจากนี้ยังมีการปฏิรูปภายในองค์กรที่สำคัญคือ การปรับสภาพแวดล้อมสำนักงานใหม่ ซึ่งเป็นศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์และสำนักงานสาขาที่ 2 ของบริษัท บนแนวคิดที่สะท้อนภาพขององค์กรที่เต็มไปด้วยพลังแห่งความคิดสร้างสรรค์ ควบคู่กับการยกระดับ
การทำงานภายใต้แนวคิด “New Office – New Culture” 4 ประการ ประกอบด้วย
1. Collaboration
2. Communication
3. Concentration
4. Chill Out
โดยสำนักงานแห่งใหม่ของ MFEC ตั้งอยู่ ณ อาคาร SJ Infinite One ชั้น 11 และผู้บริหารมีแนวคิดพร้อมนโยบายสนับสนุนพนักงานที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีศักยภาพในการทำงานและบริหารจัดการหน่วยงาน ให้เติบโตพร้อมขยายตัวและ จดทะเบียนเป็นบริษัทย่อยแห่งใหม่ อีกทั้งมีนโยบายขยายการลงทุนเพื่อช่องทางรายได้ใหม่ และเป็นการขยายฐานลูกค้าไปยังกลุ่มอุตสาหกรรมอื่นอันจะเสริมสร้างความเป็นผู้นำในธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้น

บริษัท เข้าลงทุนถือหุ้นใน 4 บริษัท ได้แก่
1) บริษัท เพลย์ทอเรียม โซลูชันส์ จำกัด
2) บริษัท แฟนสเตอร์ มีเดีย จำกัด
3) บริษัท ดาต้า คาเฟ่ จำกัด
4) บริษัท ดิจิทัล แซฟวี่ จำกัด

บริษัทยังคงดำเนินการปรับโครงสร้างขององค์กร พร้อมกำหนดกลยุทธ์การบริหารธุรกิจใหม่และดำเนินการลงทุนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวะทางเศรษฐกิจที่เริ่มฟื้นฟูและเติบโตทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงสอดรับต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งเป็นปัจจัยหลักและเป็นตัวกระตุ้นให้พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะ Disruptive Technology ที่ส่งผลกระทบโดยตรงกับเทคโนโลยีที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน รวมถึงแนวทางในการบริหารธุรกิจที่เปลี่ยนแปลง ดังนั้นบริษัทจึงปรับตัวด้วยการขยาย Business Model ให้มีความหลากหลายมากขึ้น ดังเช่น

2559-2560-1000x1000-1
Since

2017-2018

– Joint Venture with Potential Partner โดยอาศัยการผสมผสานจุดเด่นและความแข็งแกร่งของทั้งสองฝ่าย (ฝ่าย Partner และฝ่าย MFEC) เข้าด้วยกันเพื่อร่วมกันสร้างธุรกิจใหม่ขึ้นมา
– Revenue Sharing โดยอาศัยการลงทุนในธุรกิจที่มีศ้กยภาพ เพื่อสร้างรายได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
– Business Unit Spin-Off โดยสนับสนุนให้ Business Unit ที่มีความพร้อม สามารถจัดตั้งเป็นบริษัทย่อยในเครือแห่งใหม่ เพี่อส่งเสริมให้พนักงานมีความเป็น Entrepreneurship สูงขึ้น มีสิทธิในความเป็นเจ้าของ (ถือหุ้นในบริษัทใหม่ร่วมกับ MFEC) มีความก้าวหน้าในสายอาชีพ อีกทั้งยังเป็นแนวทางปฏิบัติในการธำรงรักษาคนเก่งในองค์กร เสริมสร้าง/ธำรงรักษาขีดความสามารถในการให้บริการและการแข่งขันของบริษัทฯ ได้อย่างต่อเนื่อง

– Solution Provider เป็นการนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาด้านไอทีที่ดีที่สุดให้กับลูกค้า โดยยังคงให้ความสำคัญกับกลุ่มลูกค้าระดับ Enterprise เนื่องจากเป็นกลุ่มลูกค้า ที่ยังคงสร้างรายได้หลักให้กับบริษัท

บริษัทฯ จึงได้เข้าลงทุนถือหุ้นใน 4 บริษัท ได้แก่
1) บริษัท เพลย์ทอเรียม โซลูชันส์ จำกัด ถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 70% ของทุนจดทะเบียน
2) บริษัท แฟนสเตอร์ มีเดีย จำกัด ถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 29% ของทุนจดทะเบียน
3) บริษัท ดาต้า คาเฟ่ จำกัด ถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 59.9% ของทุนจดทะเบียน
4) บริษัท ดิจิทัล แซฟวี่ จำกัด ถือลงทุนในสัดส่วน 36%
โดยมีผลให้ภาพรวมของ MFEC Group มีบริษัทในเครือประกอบด้วยบริษัทร่วม
จำนวน 4 บริษัท และบริษัทย่อยจำนวน 14 บริษัท (บริษัทในเครือ)

บริษัท เข้าลงทุนถือหุ้นใน 4 บริษัท ได้แก่
1) บริษัท เพลย์ทอเรียม โซลูชันส์ จำกัด
2) บริษัท แฟนสเตอร์ มีเดีย จำกัด
3) บริษัท ดาต้า คาเฟ่ จำกัด
4) บริษัท ดิจิทัล แซฟวี่ จำกัด

บริษัทยังคงดำเนินการปรับโครงสร้างขององค์กร พร้อมกำหนดกลยุทธ์การบริหารธุรกิจใหม่และดำเนินการลงทุนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวะทางเศรษฐกิจที่เริ่มฟื้นฟูและเติบโตทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงสอดรับต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งเป็นปัจจัยหลักและเป็นตัวกระตุ้นให้พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะ Disruptive Technology ที่ส่งผลกระทบโดยตรงกับเทคโนโลยีที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน รวมถึงแนวทางในการบริหารธุรกิจที่เปลี่ยนแปลง ดังนั้นบริษัทจึงปรับตัวด้วยการขยาย Business Model ให้มีความหลากหลายมากขึ้น ดังเช่น

– Joint Venture with Potential Partner โดยอาศัยการผสมผสานจุดเด่นและความแข็งแกร่งของทั้งสองฝ่าย (ฝ่าย Partner และฝ่าย MFEC) เข้าด้วยกันเพื่อร่วมกันสร้างธุรกิจใหม่ขึ้นมา
– Revenue Sharing โดยอาศัยการลงทุนในธุรกิจที่มีศ้กยภาพ เพื่อสร้างรายได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
– Business Unit Spin-Off โดยสนับสนุนให้ Business Unit ที่มีความพร้อม สามารถจัดตั้งเป็นบริษัทย่อยในเครือแห่งใหม่ เพี่อส่งเสริมให้พนักงานมีความเป็น Entrepreneurship สูงขึ้น มีสิทธิในความเป็นเจ้าของ (ถือหุ้นในบริษัทใหม่ร่วมกับ MFEC) มีความก้าวหน้าในสายอาชีพ อีกทั้งยังเป็นแนวทางปฏิบัติในการธำรงรักษาคนเก่งในองค์กร เสริมสร้าง/ธำรงรักษาขีดความสามารถในการให้บริการและการแข่งขันของบริษัทฯ ได้อย่างต่อเนื่อง

– Solution Provider เป็นการนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาด้านไอทีที่ดีที่สุดให้กับลูกค้า โดยยังคงให้ความสำคัญกับกลุ่มลูกค้าระดับ Enterprise เนื่องจากเป็นกลุ่มลูกค้า ที่ยังคงสร้างรายได้หลักให้กับบริษัท

บริษัทฯ จึงได้เข้าลงทุนถือหุ้นใน 4 บริษัท ได้แก่
1) บริษัท เพลย์ทอเรียม โซลูชันส์ จำกัด ถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 70% ของทุนจดทะเบียน
2) บริษัท แฟนสเตอร์ มีเดีย จำกัด ถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 29% ของทุนจดทะเบียน
3) บริษัท ดาต้า คาเฟ่ จำกัด ถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 59.9% ของทุนจดทะเบียน
4) บริษัท ดิจิทัล แซฟวี่ จำกัด ถือลงทุนในสัดส่วน 36%
โดยมีผลให้ภาพรวมของ MFEC Group มีบริษัทในเครือประกอบด้วยบริษัทร่วม
จำนวน 4 บริษัท และบริษัทย่อยจำนวน 14 บริษัท (บริษัทในเครือ)

2019-2020

Since

เดินหน้าธุรกิจเข้าสู่ Digital Transformation ปี 2560 เข้าสู่ยุคของการทำ Digital Disruption ซึ่งเต็มไปด้วยความท้าทายต่อการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจ และสิ่งแวดล้อมในด้านของการแข่งขัน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านการปรับตัวเพื่อการแข่งขันรูปแบบใหม่ ๆ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อสภาวะการแข่งขันที่รวดเร็วทำให้ MFEC ได้มีการทำ Transformation โดยเน้น 2 ส่วนสำคัญในองค์กร ได้แก่

- People Transformation

เริ่มต้นจากคนเป็นทรัพยากรหลักที่สำคัญ และมีส่วนต่อการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในองค์กร
โดยเน้นการสร้างสภาพแวดล้อมที่ทันสมัยเหมาะกับกลุ่มคนรุ่นใหม่ การปรับปรุงกระบวนการทำงานภายในให้มีประสิทธิภาพ เพื่อการพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะใหม่ ๆ รองรับกับเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่ และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมให้แก่องค์กร

- Business Transformation

เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมของผู้บริโภค รวมถึงคู่ค้า MFEC เล็งเห็นว่าการทำธุรกิจในรูปแบบเดิม จะไม่สอดรับต่อการเติบโตของพนักงาน
จึงได้หาโมเดลธุรกิจใหม่ ด้วยการก้าวไปสู่อุตสาหกรรมใหม่ ที่ไม่ใช่เพียงแค่ธุรกิจ SI แบบเดิมเพียงอย่างเดียว โดย MFEC ได้ผลักดันบุคลากรภายในที่เก่ง และมีไอเดียทางธุรกิจ ได้สร้างธุรกิจใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นจริง เพื่อสอดรับกับความต้องการ และพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป ของผู้บริโภค ผ่านการลงทุน Startup ในรูปแบบ Corporate Venture Capital รวมไปถึงการทำธุรกิจกับคู่ค้าผ่านการทำ Venture Builder โดยการเข้าไปร่วมลงทุนด้วยกันโดยอาศัยเทคโนโลยี ความสามารถ และแรงงานที่บริษัทมี เพื่อสร้างธุรกิจใหม่ ๆ ที่มี Time to Market ที่รวดเร็ว

เดินหน้าธุรกิจเข้าสู่ Digital Transformation ปี 2560 เข้าสู่ยุคของการทำ Digital Disruption ซึ่งเต็มไปด้วยความท้าทายต่อการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจ และสิ่งแวดล้อมในด้านของการแข่งขัน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านการปรับตัวเพื่อการแข่งขันรูปแบบใหม่ ๆ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อสภาวะการแข่งขันที่รวดเร็วทำให้ MFEC ได้มีการทำ Transformation โดยเน้น 2 ส่วนสำคัญในองค์กร ได้แก่

- People Transformation

เริ่มต้นจากคนเป็นทรัพยากรหลักที่สำคัญ และมีส่วนต่อการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในองค์กร
โดยเน้นการสร้างสภาพแวดล้อมที่ทันสมัยเหมาะกับกลุ่มคนรุ่นใหม่ การปรับปรุงกระบวนการทำงานภายในให้มีประสิทธิภาพ เพื่อการพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะใหม่ ๆ รองรับกับเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่ และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมให้แก่องค์กร

- Business Transformation

เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมของผู้บริโภค รวมถึงคู่ค้า MFEC เล็งเห็นว่าการทำธุรกิจในรูปแบบเดิม จะไม่สอดรับต่อการเติบโตของพนักงาน
จึงได้หาโมเดลธุรกิจใหม่ ด้วยการก้าวไปสู่อุตสาหกรรมใหม่ ที่ไม่ใช่เพียงแค่ธุรกิจ SI แบบเดิมเพียงอย่างเดียว โดย MFEC ได้ผลักดันบุคลากรภายในที่เก่ง และมีไอเดียทางธุรกิจ ได้สร้างธุรกิจใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นจริง เพื่อสอดรับกับความต้องการ และพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป ของผู้บริโภค ผ่านการลงทุน Startup ในรูปแบบ Corporate Venture Capital รวมไปถึงการทำธุรกิจกับคู่ค้าผ่านการทำ Venture Builder โดยการเข้าไปร่วมลงทุนด้วยกันโดยอาศัยเทคโนโลยี ความสามารถ และแรงงานที่บริษัทมี เพื่อสร้างธุรกิจใหม่ ๆ ที่มี Time to Market ที่รวดเร็ว

2021-2022

Since

Covid-19 พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส ปี 2562 เกิดสภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 ที่ส่งผลกระทบต่อทุกธุรกิจทั่วโลก MFEC ยืนหยัดต่อสู้กับสภาวะวิกฤตครั้งนี้ จากการมองเห็นภาพการณ์ไกลของผู้บริหาร ที่ได้มีการวางแผนรับมือกับสภาวะวิกฤตมาตั้งแต่เนิ่น ทำให้เมื่อเกิดสภาวะวิกฤตที่อยู่ในระดับรุนแรง จึงสามารถรับมือและปรับตัวได้ทันต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้ และด้วยสภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้นทำให้เทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทสำคัญของการดำเนินชีวิตประจำวัน จึงเป็นโอกาสที่ดีที่ทำให้ MFEC ได้มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนธุรกิจต่าง ๆ ให้ดำเนินต่อไป ส่งผลให้แนวทางการดำเนินงานของบริษัทยังคงมุ่งเน้นพัฒนาบริการและสินค้าเพื่อต่อยอดเทคโนโลยีที่สามารถสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ เสริมประโยชน์กันและกันของสินค้าและบริการทั้งหมดของบริษัท ทำให้บริษัทเห็นแนวทางความต้องการของตลาด การแข่งขัน และโอกาสทางธุรกิจที่จะช่วยเสริมศักยภาพให้กับธุรกิจของลูกค้าแม้ในสภาวะวิกฤต

Covid-19 พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส ปี 2562 เกิดสภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 ที่ส่งผลกระทบต่อทุกธุรกิจทั่วโลก MFEC ยืนหยัดต่อสู้กับสภาวะวิกฤตครั้งนี้ จากการมองเห็นภาพการณ์ไกลของผู้บริหาร ที่ได้มีการวางแผนรับมือกับสภาวะวิกฤตมาตั้งแต่เนิ่น ทำให้เมื่อเกิดสภาวะวิกฤตที่อยู่ในระดับรุนแรง จึงสามารถรับมือและปรับตัวได้ทันต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้ และด้วยสภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้นทำให้เทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทสำคัญของการดำเนินชีวิตประจำวัน จึงเป็นโอกาสที่ดีที่ทำให้ MFEC ได้มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนธุรกิจต่าง ๆ ให้ดำเนินต่อไป ส่งผลให้แนวทางการดำเนินงานของบริษัทยังคงมุ่งเน้นพัฒนาบริการและสินค้าเพื่อต่อยอดเทคโนโลยีที่สามารถสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ เสริมประโยชน์กันและกันของสินค้าและบริการทั้งหมดของบริษัท ทำให้บริษัทเห็นแนวทางความต้องการของตลาด การแข่งขัน และโอกาสทางธุรกิจที่จะช่วยเสริมศักยภาพให้กับธุรกิจของลูกค้าแม้ในสภาวะวิกฤต

บริษัท เอ็ม เอฟ อี ซี จำกัด จดทะเบียนและก่อตั้งบริษัท เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2540 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มต้น 10 ล้านบาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญจำนวน 1 ล้านหุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยบริษัทดำเนินการพัฒนาและวางระบบการเชื่อมต่อเครือข่ายภายในองค์กร (Intranet) ทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ซึ่งเป็นการพัฒนาและนำระบบ Intranet มาใช้ภายในองค์กรขนาดใหญ่เป็นครั้งแรกของประเทศไทย ด้วยวิสัยทัศน์ของผู้บริหารในการดำเนินธุรกิจ ทำให้บริษัทได้รับการแต่งตั้งเป็นตัวแทนจำหน่ายผลิตภัณฑ์อย่างเป็นทางการจากบริษัทชั้นนำระดับโลก ได้แก่

- Sun Microsystems ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นผู้นำด้านเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายสำหรับระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อใช้ในองค์กรขนาดใหญ่

- Netscape Communication ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นผู้ริเริ่มคิดค้นพัฒนาทางด้านโปรแกรมสำหรับระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายของระบบอินเทอร์เน็ตและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Internet & E-commerce Software Server) ในปัจจุบันรู้จักกันในนามของ SUN ONE

1997-2000

Since

บริษัท เอ็ม เอฟ อี ซี จำกัด จดทะเบียนและก่อตั้งบริษัท เมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2540 ด้วยทุนจดทะเบียนเริ่มต้น 10 ล้านบาท ประกอบด้วยหุ้นสามัญจำนวน 1 ล้านหุ้น มูลค่าตราไว้หุ้นละ 10 บาท โดยบริษัทดำเนินการพัฒนาและวางระบบการเชื่อมต่อเครือข่ายภายในองค์กร (Intranet) ทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ซึ่งเป็นการพัฒนาและนำระบบ Intranet มาใช้ภายในองค์กรขนาดใหญ่เป็นครั้งแรกของประเทศไทย ด้วยวิสัยทัศน์ของผู้บริหารในการดำเนินธุรกิจ ทำให้บริษัทได้รับการแต่งตั้งเป็นตัวแทนจำหน่ายผลิตภัณฑ์อย่างเป็นทางการจากบริษัทชั้นนำระดับโลก ได้แก่

- Sun Microsystems ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นผู้นำด้านเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายสำหรับระบบอินเตอร์เน็ต เพื่อใช้ในองค์กรขนาดใหญ่

- Netscape Communication ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นผู้ริเริ่มคิดค้นพัฒนาทางด้านโปรแกรมสำหรับระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายของระบบอินเทอร์เน็ตและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Internet & E-commerce Software Server) ในปัจจุบันรู้จักกันในนามของ SUN ONE

2001-2002

Since

เพื่อเพิ่มโอกาสการขยายธุรกิจ บริษัทจึงเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 10 ล้านบาท โดยแบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำนวน 2 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท

บริษัทได้จัดตั้งหน่วยงานบริการให้คำปรึกษาและพัฒนางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเป็นทางการ เพื่อขยายธุรกิจการบริการให้คำปรึกษาและพัฒนางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Professional Services) และได้เริ่มให้บริการธุรกิจ ดังนี้

– เริ่มให้บริการพัฒนาระบบสื่อสารทางเสียงผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Voice Over Internet Protocol, VOIP) ซึ่งจะช่วยลูกค้าลดภาระต้นทุนค่าโทรศัพท์ทางไกลเป็นแห่งแรกของประเทศไทย

– ให้บริการพัฒนาระบบคลังข้อมูล (Data Warehouse) โดยได้รับความร่วมมือจากบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ คือ Ascential (ซึ่งปัจจุบันได้ควบรวมกิจการโดย IBM) ประเทศสหรัฐอเมริกา และได้รับการแต่งตั้งเป็นตัวแทนจำหน่ายในประเทศไทย

– เริ่มศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) เพื่อเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญในอนาคต

เพื่อเพิ่มโอกาสการขยายธุรกิจ บริษัทจึงเพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 10 ล้านบาท โดยแบ่งออกเป็นหุ้นสามัญจำนวน 2 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 10 บาท

บริษัทได้จัดตั้งหน่วยงานบริการให้คำปรึกษาและพัฒนางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเป็นทางการ เพื่อขยายธุรกิจการบริการให้คำปรึกษาและพัฒนางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Professional Services) และได้เริ่มให้บริการธุรกิจ ดังนี้

– เริ่มให้บริการพัฒนาระบบสื่อสารทางเสียงผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (Voice Over Internet Protocol, VOIP) ซึ่งจะช่วยลูกค้าลดภาระต้นทุนค่าโทรศัพท์ทางไกลเป็นแห่งแรกของประเทศไทย

– ให้บริการพัฒนาระบบคลังข้อมูล (Data Warehouse) โดยได้รับความร่วมมือจากบริษัทผู้ผลิตซอฟต์แวร์ คือ Ascential (ซึ่งปัจจุบันได้ควบรวมกิจการโดย IBM) ประเทศสหรัฐอเมริกา และได้รับการแต่งตั้งเป็นตัวแทนจำหน่ายในประเทศไทย

– เริ่มศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาทรัพย์สินทางปัญญา (Intellectual Property) เพื่อเป็นแหล่งรายได้ที่สำคัญในอนาคต

จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2546 และเปิดซื้อขายหลักทรัพย์ให้แก่ประชาชนทั่วไปในตลาดหลักทรัพย์วันแรก เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2546

ในเดือนพฤษภาคม บริษัทได้ดำเนินการเพิ่มทุนจากเดิม 20 ล้านบาทเป็น 160 ล้านบาท และเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแก่ผู้ถือหุ้นเดิมจำนวน 14 ล้านหุ้น ที่มูลค่าตราไว้หุ้นละ 10 บาท เนื่องจากผู้บริหารเล็งเห็นถึงอัตราการเติบโตของบริษัท และเพื่อเพิ่มความสามารถและศักยภาพในการดำเนินธุรกิจต่อไป

ในเดือนมิถุนายน เพื่อเป็นการปรับโครงสร้างผู้ถือหุ้นของบริษัท บริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด ได้ดำเนินการขายหุ้นทั้งหมดที่ถือในบริษัท คิดเป็นร้อยละ 68 ของหุ้นที่ออกและเรียกชำระแล้ว ให้กับบริษัท โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) และผู้ถือหุ้นรายบุคคลอื่น ๆ ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด ทำให้บริษัท โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทฯ ณ ขณะนั้น โดยถือหุ้นร้อยละ 31.6 ของหุ้นที่ออกและเรียกชำระแล้ว และบริษัทได้จำหน่ายเงินลงทุนทั้งหมดในบริษัท ไทยแทพไกด์ จำกัด ให้แก่บริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด

2003

Since
เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2546 บริษัทได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด และเปิดซื้อขายหลักทรัพย์ให้แก่ประชาชนทั่วไปในตลาดหลักทรัพย์วันแรก เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2546 อีกทั้ง เพื่อรองรับการขยายงาน และจำนวนพนักงานที่เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้สามารถบริการลูกค้าได้อย่างใกล้ชิดและรวดเร็วขึ้น บริษัทได้เปิดศูนย์วิจัยและพัฒนา (Development Center) ที่อาคารเล้าเป้งง้วนทาวเวอร์ 1 ถนนวิภาวดี-รังสิต เพื่อเปิดศูนย์การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ใหม่ของบริษัท

จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2546 และเปิดซื้อขายหลักทรัพย์ให้แก่ประชาชนทั่วไปในตลาดหลักทรัพย์วันแรก เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2546

ในเดือนพฤษภาคม บริษัทได้ดำเนินการเพิ่มทุนจากเดิม 20 ล้านบาทเป็น 160 ล้านบาท และเสนอขายหุ้นสามัญเพิ่มทุนแก่ผู้ถือหุ้นเดิมจำนวน 14 ล้านหุ้น ที่มูลค่าตราไว้หุ้นละ 10 บาท เนื่องจากผู้บริหารเล็งเห็นถึงอัตราการเติบโตของบริษัท และเพื่อเพิ่มความสามารถและศักยภาพในการดำเนินธุรกิจต่อไป

ในเดือนมิถุนายน เพื่อเป็นการปรับโครงสร้างผู้ถือหุ้นของบริษัท บริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด ได้ดำเนินการขายหุ้นทั้งหมดที่ถือในบริษัท คิดเป็นร้อยละ 68 ของหุ้นที่ออกและเรียกชำระแล้ว ให้กับบริษัท โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) และผู้ถือหุ้นรายบุคคลอื่น ๆ ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นของบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด ทำให้บริษัท โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัทฯ ณ ขณะนั้น โดยถือหุ้นร้อยละ 31.6 ของหุ้นที่ออกและเรียกชำระแล้ว และบริษัทได้จำหน่ายเงินลงทุนทั้งหมดในบริษัท ไทยแทพไกด์ จำกัด ให้แก่บริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด

เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2546 บริษัทได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัทมหาชนจำกัด และเปิดซื้อขายหลักทรัพย์ให้แก่ประชาชนทั่วไปในตลาดหลักทรัพย์วันแรก เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 2546 อีกทั้ง เพื่อรองรับการขยายงาน และจำนวนพนักงานที่เพิ่มมากขึ้น เพื่อให้สามารถบริการลูกค้าได้อย่างใกล้ชิดและรวดเร็วขึ้น บริษัทได้เปิดศูนย์วิจัยและพัฒนา (Development Center) ที่อาคารเล้าเป้งง้วนทาวเวอร์ 1 ถนนวิภาวดี-รังสิต เพื่อเปิดศูนย์การวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและผลิตภัณฑ์ใหม่ของบริษัท

เข้าลงทุนในบริษัท พรอมท์นาว จำกัด, บริษัท แอดวานซ์ อินเทลลิเจนซ์ โมเดิร์นนิตี้ จำกัด และบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด (ปัจจุบันคือบริษัท พระอินทร์ ฟินเทค จำกัด)

เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2547

– เข้าลงทุนในบริษัท พรอมท์นาว จำกัด ซึ่งดำเนินธุรกิจให้คำปรึกษา แนะนำอบรมเกี่ยวกับซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ สำหรับควบคุมหรือใช้งานร่วมกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และสร้างสรรค์สื่อความบันเทิงบนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2547

– เข้าลงทุนในบริษัท แอดวานซ์ อินเทลลิเจนซ์ โมเดิร์นนิตี้ จำกัด ซึ่งดำเนินธุรกิจพัฒนา ผลิต และจำหน่ายซอฟต์แวร์ด้านสื่อบันเทิงบนอุปกรณ์มือถือ

เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2548

– เข้าลงทุนในบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด (ปัจจุบันคือบริษัท พระอินทร์ ฟินเทค จำกัด) ซึ่งประกอบธุรกิจในด้าน Modern Pay (Mobile Payment Gateway) และบริหารจัดการงานบริการ (Managed services / Project based (PC/NB/PRN)

2004-2010

Since

เข้าลงทุนในบริษัท พรอมท์นาว จำกัด, บริษัท แอดวานซ์ อินเทลลิเจนซ์ โมเดิร์นนิตี้ จำกัด และบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด (ปัจจุบันคือบริษัท พระอินทร์ ฟินเทค จำกัด)

เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2547

– เข้าลงทุนในบริษัท พรอมท์นาว จำกัด ซึ่งดำเนินธุรกิจให้คำปรึกษา แนะนำอบรมเกี่ยวกับซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ สำหรับควบคุมหรือใช้งานร่วมกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และสร้างสรรค์สื่อความบันเทิงบนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์

เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2547

– เข้าลงทุนในบริษัท แอดวานซ์ อินเทลลิเจนซ์ โมเดิร์นนิตี้ จำกัด ซึ่งดำเนินธุรกิจพัฒนา ผลิต และจำหน่ายซอฟต์แวร์ด้านสื่อบันเทิงบนอุปกรณ์มือถือ

เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2548

– เข้าลงทุนในบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม อินทิเกรชั่น เซอร์วิสเซส จำกัด (ปัจจุบันคือบริษัท พระอินทร์ ฟินเทค จำกัด) ซึ่งประกอบธุรกิจในด้าน Modern Pay (Mobile Payment Gateway) และบริหารจัดการงานบริการ (Managed services / Project based (PC/NB/PRN)

กลุ่มผู้บริหารตัดสินใจเข้าลงทุนรับซื้อ และรับโอนกิจการ NTS โดยถือหุ้นลงทุนสัดส่วน 100% (ซึ่ง มีผลทำให้กลุ่มบริษัท ซอฟต์สแควร์ จำนวน 7 บริษัท เป็น บริษัทย่อย ประกอบด้วย
- บริษัท ฮ่องสอน ซอฟต์แวร์ จำกัด
- บริษัท ซอฟต์โปรเฟสชั่นแนล จำกัด
- บริษัท ซอฟต์พลัส เทคโนโลยี จำกัด
- บริษัท เคซอฟต์ คอนซัลติ้ง จำกัด
- บริษัท สามหมอก ซอฟต์แวร์ จำกัด
- บริษัท ซอฟต์สแควร์ (1999) จำกัด
- บริษัท ขอนแก่น ซอฟต์เทค จำกัด
ผ่านการถือลงทุนของบริษัท ซอฟต์สแควร์ 1999 จำกัด พร้อมตัดสินใจเข้าลงทุนซื้อ และรับโอนกิจการในกลุ่มบริษัท เมกัส โดยถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 100% ซึ่งมีผลทำให้บริษัท โมทีฟเทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) และบริษัท บิสซิเนส แอพพลิเคชั่น จำกัด เป็นบริษัทย่อยในกลุ่ม MFEC Group และร่วมลงทุนในบริษัท อังสตรอม โซลูชั่น จำกัด โดยถือหุ้น ลงทุนในสัดส่วน 40% ของทุนจดทะเบียน เพื่อเสริมสร้าง ความเป็นผู้นำในธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศให้แข็งแกร่ง ยิ่งขึ้น และเป็นการขยายการลงทุนในการพัฒนาสินทรัพย์ทาง ปัญญาของบริษัทอย่างต่อเนื่อง ทำให้ในกลุ่ม MFEC Group โดยรวมประกอบด้วยบริษัทร่วมจำนวน 1 บริษัท และบริษัท ย่อยจํานวน 13 บริษัท

2011-2012

Since

กลุ่มผู้บริหารตัดสินใจเข้าลงทุนรับซื้อ และรับโอนกิจการ NTS โดยถือหุ้นลงทุนสัดส่วน 100% (ซึ่ง มีผลทำให้กลุ่มบริษัท ซอฟต์สแควร์ จำนวน 7 บริษัท เป็น บริษัทย่อย ประกอบด้วย
- บริษัท ฮ่องสอน ซอฟต์แวร์ จำกัด
- บริษัท ซอฟต์โปรเฟสชั่นแนล จำกัด
- บริษัท ซอฟต์พลัส เทคโนโลยี จำกัด
- บริษัท เคซอฟต์ คอนซัลติ้ง จำกัด
- บริษัท สามหมอก ซอฟต์แวร์ จำกัด
- บริษัท ซอฟต์สแควร์ (1999) จำกัด
- บริษัท ขอนแก่น ซอฟต์เทค จำกัด
ผ่านการถือลงทุนของบริษัท ซอฟต์สแควร์ 1999 จำกัด พร้อมตัดสินใจเข้าลงทุนซื้อ และรับโอนกิจการในกลุ่มบริษัท เมกัส โดยถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 100% ซึ่งมีผลทำให้บริษัท โมทีฟเทคโนโลยี จำกัด (มหาชน) และบริษัท บิสซิเนส แอพพลิเคชั่น จำกัด เป็นบริษัทย่อยในกลุ่ม MFEC Group และร่วมลงทุนในบริษัท อังสตรอม โซลูชั่น จำกัด โดยถือหุ้น ลงทุนในสัดส่วน 40% ของทุนจดทะเบียน เพื่อเสริมสร้าง ความเป็นผู้นำในธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศให้แข็งแกร่ง ยิ่งขึ้น และเป็นการขยายการลงทุนในการพัฒนาสินทรัพย์ทาง ปัญญาของบริษัทอย่างต่อเนื่อง ทำให้ในกลุ่ม MFEC Group โดยรวมประกอบด้วยบริษัทร่วมจำนวน 1 บริษัท และบริษัท ย่อยจํานวน 13 บริษัท

2013-2014

Since
2556-2557-1000x1000-1

บริษัท TIS INC. ประเทศญี่ปุ่น เข้าซื้อหุ้นจาก Modernform Group ถือลงทุนในสัดส่วน 18% ของทุนจดทะเบียนชำระแล้ว มีสถานะเป็น “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่” แทนบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) บริษัท โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) “MODERN” ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ มีมติอนุมัติรายการจำหน่ายหุ้น บริษัท เอ็ม เอฟ อี ซี จำกัด (มหาชน) “MFEC” จำนวน 61,983,675 หุ้น คิดเป็น 14.07% ของทุนชำระแล้ว ให้กับบริษัท TIS INC. ประเทศญี่ปุ่น ในราคาหุ้นละ 10.70 บาท เป็นเงิน 663,225,322.50 บาท โดยทำการจำหน่ายในวันที่ 14 พฤษภาคม 2557 และภายหลังการจำหน่ายหุ้นดังกล่าวทำให้สัดส่วนการถือหุ้นของ Modernform Group ลดลงคงเหลือ 2.41% และมีผลทำให้ บริษัท TIS Inc. ซึ่งเข้าซื้อหุ้นจาก Modernform Group และถือลงทุนในสัดส่วน 18% ของทุนจดทะเบียนชำระแล้ว มีสถานะเป็น “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่” แทนบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) โดยการทำรายการดังกล่าวของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดี ด้วย TIS Inc. เป็นกลุ่มบริษัทต่างชาติ ซึ่งเป็นผู้นำในธุรกิจด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศญี่ปุ่นอันจะทำให้บริษัทได้รับโอกาสในการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เทียบเท่าบริษัทชั้นนำต่างชาติและเป็นการเพิ่มโอกาสทางการค้าในอนาคต

บริษัท TIS INC. ประเทศญี่ปุ่น เข้าซื้อหุ้นจาก Modernform Group ถือลงทุนในสัดส่วน 18% ของทุนจดทะเบียนชำระแล้ว มีสถานะเป็น “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่” แทนบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) บริษัท โมเดอร์นฟอร์มกรุ๊ป จำกัด (มหาชน) “MODERN” ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ มีมติอนุมัติรายการจำหน่ายหุ้น บริษัท เอ็ม เอฟ อี ซี จำกัด (มหาชน) “MFEC” จำนวน 61,983,675 หุ้น คิดเป็น 14.07% ของทุนชำระแล้ว ให้กับบริษัท TIS INC. ประเทศญี่ปุ่น ในราคาหุ้นละ 10.70 บาท เป็นเงิน 663,225,322.50 บาท โดยทำการจำหน่ายในวันที่ 14 พฤษภาคม 2557 และภายหลังการจำหน่ายหุ้นดังกล่าวทำให้สัดส่วนการถือหุ้นของ Modernform Group ลดลงคงเหลือ 2.41% และมีผลทำให้ บริษัท TIS Inc. ซึ่งเข้าซื้อหุ้นจาก Modernform Group และถือลงทุนในสัดส่วน 18% ของทุนจดทะเบียนชำระแล้ว มีสถานะเป็น “ผู้ถือหุ้นรายใหญ่” แทนบริษัท โมเดอร์นฟอร์ม กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) โดยการทำรายการดังกล่าวของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทิศทางที่ดี ด้วย TIS Inc. เป็นกลุ่มบริษัทต่างชาติ ซึ่งเป็นผู้นำในธุรกิจด้านเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศญี่ปุ่นอันจะทำให้บริษัทได้รับโอกาสในการพัฒนาศักยภาพและขีดความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เทียบเท่าบริษัทชั้นนำต่างชาติและเป็นการเพิ่มโอกาสทางการค้าในอนาคต

ตั้งศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์และสำนักงานสาขาที่ 2 แห่งใหม่ของบริษัท
ตั้งอยู่ ณ อาคาร SJ Infinite One ชั้น 11 บริษัทได้มีการพัฒนาและปรับปรุงแนวทางการดำเนินธุรกิจให้สอดคล้องไปกับความต้องการของตลาด เทรนด์เทคโนโลยีฯ ตลอดจนความต้องการของลูกค้า อีกทั้งมีการวางระบบการควบคุมภายในพร้อมการปรับโครงสร้างองค์กรและกลยุทธ์การบริหารธุรกิจใหม่ให้สอดรับกับสภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอยทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นตัวกระตุ้นให้พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว อาทิ กลยุทธ์การปฏิรูปการทำธุรกิจ หรือ Business Transformation มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยียกระดับและพัฒนาธุรกิจที่เปลี่ยนไป นำศักยภาพและความเชี่ยวชาญที่ MFEC มีเข้าช่วยแก้ไขและสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับกลุ่มลูกค้าในอุตสาหกรรมอื่น ๆ ที่กำลังเผชิญกับความท้าทายทางเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ รวมถึงมีการสร้างโมเดลธุรกิจรูปแบบใหม่ในลักษณะการร่วมทุนกับพันธมิตรในกลุ่มอุตสาหกรรมต่าง ๆ อาทิ กลุ่มสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ กลุ่มบันเทิง ฯลฯ

2015 - 2016

Since
นอกจากนี้ยังมีการปฏิรูปภายในองค์กรที่สำคัญคือ การปรับสภาพแวดล้อมสำนักงานใหม่ ซึ่งเป็นศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์และสำนักงานสาขาที่ 2 ของบริษัท บนแนวคิดที่สะท้อนภาพขององค์กรที่เต็มไปด้วยพลังแห่งความคิดสร้างสรรค์ ควบคู่กับการยกระดับ
การทำงานภายใต้แนวคิด “New Office – New Culture” 4 ประการ ประกอบด้วย
1. Collaboration
2. Communication
3. Concentration
4. Chill Out
โดยสำนักงานแห่งใหม่ของ MFEC ตั้งอยู่ ณ อาคาร SJ Infinite One ชั้น 11 และผู้บริหารมีแนวคิดพร้อมนโยบายสนับสนุนพนักงานที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีศักยภาพในการทำงานและบริหารจัดการหน่วยงาน ให้เติบโตพร้อมขยายตัวและ จดทะเบียนเป็นบริษัทย่อยแห่งใหม่ อีกทั้งมีนโยบายขยายการลงทุนเพื่อช่องทางรายได้ใหม่ และเป็นการขยายฐานลูกค้าไปยังกลุ่มอุตสาหกรรมอื่นอันจะเสริมสร้างความเป็นผู้นำในธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้น

ตั้งศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์และสำนักงานสาขาที่ 2 แห่งใหม่ของบริษัท
ตั้งอยู่ ณ อาคาร SJ Infinite One ชั้น 11 บริษัทได้มีการพัฒนาและปรับปรุงแนวทางการดำเนินธุรกิจให้สอดคล้องไปกับความต้องการของตลาด เทรนด์เทคโนโลยีฯ ตลอดจนความต้องการของลูกค้า อีกทั้งมีการวางระบบการควบคุมภายในพร้อมการปรับโครงสร้างองค์กรและกลยุทธ์การบริหารธุรกิจใหม่ให้สอดรับกับสภาวะเศรษฐกิจที่ถดถอยทั้งในและต่างประเทศ รวมถึงการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นตัวกระตุ้นให้พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็ว อาทิ กลยุทธ์การปฏิรูปการทำธุรกิจ หรือ Business Transformation มุ่งเน้นการใช้เทคโนโลยียกระดับและพัฒนาธุรกิจที่เปลี่ยนไป นำศักยภาพและความเชี่ยวชาญที่ MFEC มีเข้าช่วยแก้ไขและสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้กับกลุ่มลูกค้าในอุตสาหกรรมอื่น ๆ ที่กำลังเผชิญกับความท้าทายทางเศรษฐกิจและการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ รวมถึงมีการสร้างโมเดลธุรกิจรูปแบบใหม่ในลักษณะการร่วมทุนกับพันธมิตรในกลุ่มอุตสาหกรรมต่าง ๆ อาทิ กลุ่มสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโทรทัศน์ กลุ่มบันเทิง ฯลฯ

นอกจากนี้ยังมีการปฏิรูปภายในองค์กรที่สำคัญคือ การปรับสภาพแวดล้อมสำนักงานใหม่ ซึ่งเป็นศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์และสำนักงานสาขาที่ 2 ของบริษัท บนแนวคิดที่สะท้อนภาพขององค์กรที่เต็มไปด้วยพลังแห่งความคิดสร้างสรรค์ ควบคู่กับการยกระดับ
การทำงานภายใต้แนวคิด “New Office – New Culture” 4 ประการ ประกอบด้วย
1. Collaboration
2. Communication
3. Concentration
4. Chill Out
โดยสำนักงานแห่งใหม่ของ MFEC ตั้งอยู่ ณ อาคาร SJ Infinite One ชั้น 11 และผู้บริหารมีแนวคิดพร้อมนโยบายสนับสนุนพนักงานที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีศักยภาพในการทำงานและบริหารจัดการหน่วยงาน ให้เติบโตพร้อมขยายตัวและ จดทะเบียนเป็นบริษัทย่อยแห่งใหม่ อีกทั้งมีนโยบายขยายการลงทุนเพื่อช่องทางรายได้ใหม่ และเป็นการขยายฐานลูกค้าไปยังกลุ่มอุตสาหกรรมอื่นอันจะเสริมสร้างความเป็นผู้นำในธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศให้แข็งแกร่งยิ่งขึ้น

บริษัท เข้าลงทุนถือหุ้นใน 4 บริษัท ได้แก่
1) บริษัท เพลย์ทอเรียม โซลูชันส์ จำกัด
2) บริษัท แฟนสเตอร์ มีเดีย จำกัด
3) บริษัท ดาต้า คาเฟ่ จำกัด
4) บริษัท ดิจิทัล แซฟวี่ จำกัด

บริษัทยังคงดำเนินการปรับโครงสร้างขององค์กร พร้อมกำหนดกลยุทธ์การบริหารธุรกิจใหม่และดำเนินการลงทุนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวะทางเศรษฐกิจที่เริ่มฟื้นฟูและเติบโตทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงสอดรับต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งเป็นปัจจัยหลักและเป็นตัวกระตุ้นให้พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะ Disruptive Technology ที่ส่งผลกระทบโดยตรงกับเทคโนโลยีที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน รวมถึงแนวทางในการบริหารธุรกิจที่เปลี่ยนแปลง ดังนั้นบริษัทจึงปรับตัวด้วยการขยาย Business Model ให้มีความหลากหลายมากขึ้น ดังเช่น

2559-2560-1000x1000-1
Since

2017-2018

– Joint Venture with Potential Partner โดยอาศัยการผสมผสานจุดเด่นและความแข็งแกร่งของทั้งสองฝ่าย (ฝ่าย Partner และฝ่าย MFEC) เข้าด้วยกันเพื่อร่วมกันสร้างธุรกิจใหม่ขึ้นมา
– Revenue Sharing โดยอาศัยการลงทุนในธุรกิจที่มีศ้กยภาพ เพื่อสร้างรายได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
– Business Unit Spin-Off โดยสนับสนุนให้ Business Unit ที่มีความพร้อม สามารถจัดตั้งเป็นบริษัทย่อยในเครือแห่งใหม่ เพี่อส่งเสริมให้พนักงานมีความเป็น Entrepreneurship สูงขึ้น มีสิทธิในความเป็นเจ้าของ (ถือหุ้นในบริษัทใหม่ร่วมกับ MFEC) มีความก้าวหน้าในสายอาชีพ อีกทั้งยังเป็นแนวทางปฏิบัติในการธำรงรักษาคนเก่งในองค์กร เสริมสร้าง/ธำรงรักษาขีดความสามารถในการให้บริการและการแข่งขันของบริษัทฯ ได้อย่างต่อเนื่อง

– Solution Provider เป็นการนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาด้านไอทีที่ดีที่สุดให้กับลูกค้า โดยยังคงให้ความสำคัญกับกลุ่มลูกค้าระดับ Enterprise เนื่องจากเป็นกลุ่มลูกค้า ที่ยังคงสร้างรายได้หลักให้กับบริษัท

บริษัทฯ จึงได้เข้าลงทุนถือหุ้นใน 4 บริษัท ได้แก่
1) บริษัท เพลย์ทอเรียม โซลูชันส์ จำกัด ถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 70% ของทุนจดทะเบียน
2) บริษัท แฟนสเตอร์ มีเดีย จำกัด ถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 29% ของทุนจดทะเบียน
3) บริษัท ดาต้า คาเฟ่ จำกัด ถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 59.9% ของทุนจดทะเบียน
4) บริษัท ดิจิทัล แซฟวี่ จำกัด ถือลงทุนในสัดส่วน 36%
โดยมีผลให้ภาพรวมของ MFEC Group มีบริษัทในเครือประกอบด้วยบริษัทร่วม
จำนวน 4 บริษัท และบริษัทย่อยจำนวน 14 บริษัท (บริษัทในเครือ)

บริษัท เข้าลงทุนถือหุ้นใน 4 บริษัท ได้แก่
1) บริษัท เพลย์ทอเรียม โซลูชันส์ จำกัด
2) บริษัท แฟนสเตอร์ มีเดีย จำกัด
3) บริษัท ดาต้า คาเฟ่ จำกัด
4) บริษัท ดิจิทัล แซฟวี่ จำกัด

บริษัทยังคงดำเนินการปรับโครงสร้างขององค์กร พร้อมกำหนดกลยุทธ์การบริหารธุรกิจใหม่และดำเนินการลงทุนอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้องกับสภาวะทางเศรษฐกิจที่เริ่มฟื้นฟูและเติบโตทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงสอดรับต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งเป็นปัจจัยหลักและเป็นตัวกระตุ้นให้พฤติกรรมผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะ Disruptive Technology ที่ส่งผลกระทบโดยตรงกับเทคโนโลยีที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน รวมถึงแนวทางในการบริหารธุรกิจที่เปลี่ยนแปลง ดังนั้นบริษัทจึงปรับตัวด้วยการขยาย Business Model ให้มีความหลากหลายมากขึ้น ดังเช่น

– Joint Venture with Potential Partner โดยอาศัยการผสมผสานจุดเด่นและความแข็งแกร่งของทั้งสองฝ่าย (ฝ่าย Partner และฝ่าย MFEC) เข้าด้วยกันเพื่อร่วมกันสร้างธุรกิจใหม่ขึ้นมา
– Revenue Sharing โดยอาศัยการลงทุนในธุรกิจที่มีศ้กยภาพ เพื่อสร้างรายได้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
– Business Unit Spin-Off โดยสนับสนุนให้ Business Unit ที่มีความพร้อม สามารถจัดตั้งเป็นบริษัทย่อยในเครือแห่งใหม่ เพี่อส่งเสริมให้พนักงานมีความเป็น Entrepreneurship สูงขึ้น มีสิทธิในความเป็นเจ้าของ (ถือหุ้นในบริษัทใหม่ร่วมกับ MFEC) มีความก้าวหน้าในสายอาชีพ อีกทั้งยังเป็นแนวทางปฏิบัติในการธำรงรักษาคนเก่งในองค์กร เสริมสร้าง/ธำรงรักษาขีดความสามารถในการให้บริการและการแข่งขันของบริษัทฯ ได้อย่างต่อเนื่อง

– Solution Provider เป็นการนำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาด้านไอทีที่ดีที่สุดให้กับลูกค้า โดยยังคงให้ความสำคัญกับกลุ่มลูกค้าระดับ Enterprise เนื่องจากเป็นกลุ่มลูกค้า ที่ยังคงสร้างรายได้หลักให้กับบริษัท

บริษัทฯ จึงได้เข้าลงทุนถือหุ้นใน 4 บริษัท ได้แก่
1) บริษัท เพลย์ทอเรียม โซลูชันส์ จำกัด ถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 70% ของทุนจดทะเบียน
2) บริษัท แฟนสเตอร์ มีเดีย จำกัด ถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 29% ของทุนจดทะเบียน
3) บริษัท ดาต้า คาเฟ่ จำกัด ถือหุ้นลงทุนในสัดส่วน 59.9% ของทุนจดทะเบียน
4) บริษัท ดิจิทัล แซฟวี่ จำกัด ถือลงทุนในสัดส่วน 36%
โดยมีผลให้ภาพรวมของ MFEC Group มีบริษัทในเครือประกอบด้วยบริษัทร่วม
จำนวน 4 บริษัท และบริษัทย่อยจำนวน 14 บริษัท (บริษัทในเครือ)

2019-2020

Since

เดินหน้าธุรกิจเข้าสู่ Digital Transformation ปี 2560 เข้าสู่ยุคของการทำ Digital Disruption ซึ่งเต็มไปด้วยความท้าทายต่อการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจ และสิ่งแวดล้อมในด้านของการแข่งขัน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านการปรับตัวเพื่อการแข่งขันรูปแบบใหม่ ๆ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อสภาวะการแข่งขันที่รวดเร็วทำให้ MFEC ได้มีการทำ Transformation โดยเน้น 2 ส่วนสำคัญในองค์กร ได้แก่

- People Transformation

เริ่มต้นจากคนเป็นทรัพยากรหลักที่สำคัญ และมีส่วนต่อการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในองค์กร
โดยเน้นการสร้างสภาพแวดล้อมที่ทันสมัยเหมาะกับกลุ่มคนรุ่นใหม่ การปรับปรุงกระบวนการทำงานภายในให้มีประสิทธิภาพ เพื่อการพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะใหม่ ๆ รองรับกับเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่ และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมให้แก่องค์กร

- Business Transformation

เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมของผู้บริโภค รวมถึงคู่ค้า MFEC เล็งเห็นว่าการทำธุรกิจในรูปแบบเดิม จะไม่สอดรับต่อการเติบโตของพนักงาน
จึงได้หาโมเดลธุรกิจใหม่ ด้วยการก้าวไปสู่อุตสาหกรรมใหม่ ที่ไม่ใช่เพียงแค่ธุรกิจ SI แบบเดิมเพียงอย่างเดียว โดย MFEC ได้ผลักดันบุคลากรภายในที่เก่ง และมีไอเดียทางธุรกิจ ได้สร้างธุรกิจใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นจริง เพื่อสอดรับกับความต้องการ และพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป ของผู้บริโภค ผ่านการลงทุน Startup ในรูปแบบ Corporate Venture Capital รวมไปถึงการทำธุรกิจกับคู่ค้าผ่านการทำ Venture Builder โดยการเข้าไปร่วมลงทุนด้วยกันโดยอาศัยเทคโนโลยี ความสามารถ และแรงงานที่บริษัทมี เพื่อสร้างธุรกิจใหม่ ๆ ที่มี Time to Market ที่รวดเร็ว

เดินหน้าธุรกิจเข้าสู่ Digital Transformation ปี 2560 เข้าสู่ยุคของการทำ Digital Disruption ซึ่งเต็มไปด้วยความท้าทายต่อการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจ และสิ่งแวดล้อมในด้านของการแข่งขัน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านการปรับตัวเพื่อการแข่งขันรูปแบบใหม่ ๆ การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ เพื่อให้สามารถตอบสนองต่อสภาวะการแข่งขันที่รวดเร็วทำให้ MFEC ได้มีการทำ Transformation โดยเน้น 2 ส่วนสำคัญในองค์กร ได้แก่

- People Transformation

เริ่มต้นจากคนเป็นทรัพยากรหลักที่สำคัญ และมีส่วนต่อการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในองค์กร
โดยเน้นการสร้างสภาพแวดล้อมที่ทันสมัยเหมาะกับกลุ่มคนรุ่นใหม่ การปรับปรุงกระบวนการทำงานภายในให้มีประสิทธิภาพ เพื่อการพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะใหม่ ๆ รองรับกับเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นใหม่ และสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมให้แก่องค์กร

- Business Transformation

เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมของผู้บริโภค รวมถึงคู่ค้า MFEC เล็งเห็นว่าการทำธุรกิจในรูปแบบเดิม จะไม่สอดรับต่อการเติบโตของพนักงาน
จึงได้หาโมเดลธุรกิจใหม่ ด้วยการก้าวไปสู่อุตสาหกรรมใหม่ ที่ไม่ใช่เพียงแค่ธุรกิจ SI แบบเดิมเพียงอย่างเดียว โดย MFEC ได้ผลักดันบุคลากรภายในที่เก่ง และมีไอเดียทางธุรกิจ ได้สร้างธุรกิจใหม่ ๆ ให้เกิดขึ้นจริง เพื่อสอดรับกับความต้องการ และพฤติกรรมที่เปลี่ยนไป ของผู้บริโภค ผ่านการลงทุน Startup ในรูปแบบ Corporate Venture Capital รวมไปถึงการทำธุรกิจกับคู่ค้าผ่านการทำ Venture Builder โดยการเข้าไปร่วมลงทุนด้วยกันโดยอาศัยเทคโนโลยี ความสามารถ และแรงงานที่บริษัทมี เพื่อสร้างธุรกิจใหม่ ๆ ที่มี Time to Market ที่รวดเร็ว

2021-2022

Since

Covid-19 พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส ปี 2562 เกิดสภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 ที่ส่งผลกระทบต่อทุกธุรกิจทั่วโลก MFEC ยืนหยัดต่อสู้กับสภาวะวิกฤตครั้งนี้ จากการมองเห็นภาพการณ์ไกลของผู้บริหาร ที่ได้มีการวางแผนรับมือกับสภาวะวิกฤตมาตั้งแต่เนิ่น ทำให้เมื่อเกิดสภาวะวิกฤตที่อยู่ในระดับรุนแรง จึงสามารถรับมือและปรับตัวได้ทันต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้ และด้วยสภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้นทำให้เทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทสำคัญของการดำเนินชีวิตประจำวัน จึงเป็นโอกาสที่ดีที่ทำให้ MFEC ได้มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนธุรกิจต่าง ๆ ให้ดำเนินต่อไป ส่งผลให้แนวทางการดำเนินงานของบริษัทยังคงมุ่งเน้นพัฒนาบริการและสินค้าเพื่อต่อยอดเทคโนโลยีที่สามารถสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ เสริมประโยชน์กันและกันของสินค้าและบริการทั้งหมดของบริษัท ทำให้บริษัทเห็นแนวทางความต้องการของตลาด การแข่งขัน และโอกาสทางธุรกิจที่จะช่วยเสริมศักยภาพให้กับธุรกิจของลูกค้าแม้ในสภาวะวิกฤต

Covid-19 พลิกวิกฤตให้เป็นโอกาส ปี 2562 เกิดสภาวะวิกฤตการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส Covid-19 ที่ส่งผลกระทบต่อทุกธุรกิจทั่วโลก MFEC ยืนหยัดต่อสู้กับสภาวะวิกฤตครั้งนี้ จากการมองเห็นภาพการณ์ไกลของผู้บริหาร ที่ได้มีการวางแผนรับมือกับสภาวะวิกฤตมาตั้งแต่เนิ่น ทำให้เมื่อเกิดสภาวะวิกฤตที่อยู่ในระดับรุนแรง จึงสามารถรับมือและปรับตัวได้ทันต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นได้ และด้วยสภาวะวิกฤตที่เกิดขึ้นทำให้เทคโนโลยีได้เข้ามามีบทบาทสำคัญของการดำเนินชีวิตประจำวัน จึงเป็นโอกาสที่ดีที่ทำให้ MFEC ได้มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนธุรกิจต่าง ๆ ให้ดำเนินต่อไป ส่งผลให้แนวทางการดำเนินงานของบริษัทยังคงมุ่งเน้นพัฒนาบริการและสินค้าเพื่อต่อยอดเทคโนโลยีที่สามารถสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ เสริมประโยชน์กันและกันของสินค้าและบริการทั้งหมดของบริษัท ทำให้บริษัทเห็นแนวทางความต้องการของตลาด การแข่งขัน และโอกาสทางธุรกิจที่จะช่วยเสริมศักยภาพให้กับธุรกิจของลูกค้าแม้ในสภาวะวิกฤต

Board of Directors

คณะกรรมการบริษัท

คุณศิริศักดิ์ ถิรวัฒนางกูร

ประธานกรรมการบริษัท

คุณสุชาติ ธรรมาพิทักษ์กุล

กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ

คุณศิริวัฒน์ วงศ์จารุกร

กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร
กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน

คุณธนกร ชาลี

กรรมการ กรรมการบริหาร
กรรมการบริหารความเสี่ยงและบรรษัทภิบาล

คุณคิโยทากะ นาคามูระ

รองประธานกรรมการบริษัท
กรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

คุณอนันต์ ลี้ตระกูล

กรรมการอิสระ และประธานกรรมการสรรหา และพิจารณาค่าตอบแทน

ศ.ดร.อุทัย ตันละมัย

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ
ประธานคณะกรรมการบริหาร
ความเสี่ยงและบรรษัทภิบาล

ดร.ชาญ ธาระวาส

กรรมการอิสระ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน กรรมการบริหารความเสี่ยง และบรรษัทภิบาล

รศ.ดร.กมเลศน์ สันติเวชชกุล

กรรมการอิสระ และกรรมการบริหารความเสี่ยงและบรรษัทภิบาล กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและพิจารณาค่าตอบแทน

คุณมาซาคาซุ คาวามูระ

กรรมการ

Executive Committee and Management

คณะผู้บริหาร

คุณศิริวัฒน์ วงศ์จารุกร

กรรมการ/ประธานกรรมการบริหาร
กรรมการสรรหา พิจารณาค่าตอบแทน

คุณธนกร ชาลี

ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ

คุณอาร์ม ศิวะดิตถ์

ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาธุรกิจ
และบริหารการเปลี่ยนแปลง

คุณกิตติ วินทิมา

ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายปฏิบัติการ
กลุ่มสื่อสารและโทรคมนาคม

คุณพิชญ์ มานะกิจไพโรจน์

ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายบัญชี และการเงิน